วันอังคารที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2551

พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ เปิดให้เข้าชมแล้ว /เรื่องราวเกี่ยวกับหน่วยความจำ (Memory Storage Capcity

http://www.oknation.net/blog/ajhara/2008/04/16/entry-1

http://www.oknation.net/blog/ajhara/2008/03/03/entry-1/สปัน แกลเลอรี

http://www.oknation.net/blog/nutbbc/2008/04/15/entry-1/เรื่องราวเกี่ยวกับหน่วยความจำ (Memory Storage Capcity
วันอังคาร ที่ 15 เมษายน 2551
เรื่องราวเกี่ยวกับหน่วยความจำ (Memory Storage Capcity Posted by นัทBBC , ผู้อ่าน : 27 , 10:09:51 น. พิมพ์หน้านี้
เรื่องราวเกี่ยวกับหน่วยความจำ (Memory Storage Capcity)
เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหลายจะมีวิธีการเก็บข้อมูลไว้ภายในอุปกรณ์ฐมภูมิที่เรียกว่า หน่วยความจำหรือ Random Access Memory หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า แรม (Ram)และเรามักจะเรียกกันอย่างง่ายๆ ว่าหน่วยความจำ สำหรับผู้ใช้ใหม่ๆ หลายๆ คนมักจะเกิดความเข้าใจที่เราสับสนกันระหว่าง แรม และดิสเกตต์ และเกิดปัญหาที่ว่าทำไม ถึงต้องมีหน่วยเก็บข้อมูลทั้งสองประเภทที่แตกต่างกันนี้ด้วย - ข้อมูลที่เก็บเอกสารเอาไว้แต่เฉพาะในแรม จะสูญหายไปอย่างถาวรเมื่อท่านปิดคอมพิวเตอร์ที่เป็นเช่นนี้กันเพราะว่าแรมจะเก็บข้อมูลเอาไว้ในลักษณะของอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งต้องการแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าไปอย่างคงที่ - ข้อมูลที่เก็บเอาไว้ในดิสก์จะอยู่อย่างถาวรตลอดไป แม้เมื่อท่านปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว คอมพิวเตอร์มีดิสก์ก็จะทำหน้าที่เหมือนกับเทปคาสเซ็ตที่มีการเก็บข้อมูลเอาไว้ในรูปของสัญญาณแม่เหล็กซึ่งจะคงอยู่อย่างเดิมไม่เปลี่ยนแปลง จนกว่าท่านจะได้ลงข้อมูลดังกล่าวนั้นหรือเปลี่ยนข้อมูลใหม่ทดแทนข้อมูลเดิม - แรมจะทำงานได้ที่ความเร็วสูงสุดเนื่องจากไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนที่เพราะ แรมประกอบด้วย สวิตซ์ไฟฟ้าขนาดจิ๋วที่จะมีลักษณะเป็นขั้วบวกขั้วลบหรือเปิดกับปิด
ถ้าพูดถึงกันลักษณะการทำงานแล้ว ดิสก์ไดร์ฟจะทำหน้าที่เหมือนกันตู้เอกสารซึ่งก็คือ เป็นหน่วยสำหรับเรียกเก็บข้อมูลที่มีปริมาณมากสำหรับใช้งานเป็นระยะเวลานาน ส่วนแรมนั้นจะทำหน้าที่เหมือนกับโต๊ะเอกสาร คือ เป็นที่ที่ท่านจะใช้วางสิ่งที่ท่านกำลังทำงานอยู่ในชั่วคณะ และเช่นเดียวกับการที่ถ้าไม่มีหน่วยความจำเป๋นที่จะต้องรื้อเอาไฟล์ทั้งหมดออกมาจากตู้เอกสารและวางกองไว้บนโต๊ะของท่านในขณะที่ท่านต้องการใช้งานเพียงแฟ้มๆ เดียวก็ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องดึงแฟ้มทั้มหมดเพียงแฟ้มเดียว นี่คือ เหตุผลที่ว่าทำไมขีดความจุของแรมจึงน้อยกว่าดิสก์มากเครื่องคอมพิวเตอร์

ไม่มีความคิดเห็น: